วัชรพล พุทธรักษา / Watcharabon Buddharaksa


























Email: watcharabonb@nu.ac.th

ตำแหน่งงานในปัจจุบัน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจำภาควิชารัฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

ความสนใจทางวิชาการ
อันโตนิโอ กรัมชี่, ปรัชญาการเมือง, การเมืองไทยสมัยใหม่ 


คุณวุฒิ
Ph.D. (Politics), University of York, 2557.
ร.ม. (การปกครอง), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550.
ศศ.บ. (รัฐศาสตร์) เกียรตินิยมอันดับ 1, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 2546.

ผลงานวิชาการ
·นิติลักษณ์ แก้วจันดี, วัชรพล พุทธรักษา, และราชันย์ นิลวรรณาภา. 2561. “ผู้ชายในกฎหมายโบราณอีสาน: มองมุมใหม่ผ่านแนวคิดเชิงวิพากษ์. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 14(1).

·วัชรพล พุทธรักษา(แปล). 2560. ว่าด้วยสังคมวิทยาเศรษฐกิจกับการวิพากษ์สังคม. แปลจาก Werner Bonefeld. (2015). On Economic Sociology and the Critique of Society. วิภาษา, 10(74).

·Buddharaksa, W. 2016. “Review: In, Against, and Beyond Capitalism: The Sanfrancisco Lecturesby John Holloway.” Manusya: Journal of Humanities, 19(2): 112-114.

·Buddharaksa, W. 2016. “Big Society, Free Economy, and Strong State: Bonefel’s Open Marxism and the Critique of Political Economy,” pp.1-16. In the 64th Annual Conference of Japan Society of Political Economy, 15 October 2016, Fukushima University, Japan.

·วัชรพล พุทธรักษา. 2559. “กรัมชี่ การศึกษาและการเปลี่ยนแปลงทางสังคม.” งานประชุมวิชาการประจำปีภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร “เหลียวซ้ายแลขวาการศึกษาไทย, 10 มีนาคม 2559, หน้า 93-115.

·วัชรพล พุทธรักษา. 2559. “กรัมชี่ การแปลความหมายและปรัชญาว่าด้วยการปฏิบัติ.” เวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทยครั้งที่ 10, 19-20 กันยายน 2559, น. 366-378.

·วัชรพล ศุภจักรวัฒนา และ วัชรพล พุทธรักษา, บก. 2559. ว่าด้วยทฤษฎีรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ร่วมสมัย. พิษณุโลก: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยนเรศวร.

·วัชรพล พุทธรักษา. 2559. “สินค้า มูลค่าและสภาวะแปลกแยกในหนังสือว่าด้วยทุนของคาร์ล มาร์กซ์,” น.25-46. ใน ว่าด้วยทฤษฎีรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ร่วมสมัย, บก. วัชรพล ศุภจักรวัฒนาและวัชรพล พุทธรักษา. พิษณุโลก: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยนเรศวร.


·วัชรวุฒิ ซื่อสัตย์ และ วัชรพล พุทธรักษา. 2558. “ระบบแม่ [กะเทย]: ศิลป์และศาสตร์การครองอำนาจนำในสังคมกะเทยไทย.” วารสารศิลปศาสตร์, 15(2): 101-118.

Comments