ทวีศักดิ์ เผือกสม / Davisakd Puaksom


Email: davisakd.puaksom@gmail.com

ตำแหน่งงานในปัจจุบัน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจำภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร


ความสนใจทางวิชาการ
ประวัติศาสตร์สังคม-วัฒนธรรม, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา, ประวัติศาสตร์นิพนธ์ไทยร่วมสมัย


คุณวุฒิ
Ph.D. (Southeast Asian Studies), National University of Singapore, 2551.
อ.ม. (ประวัติศาสตร์), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542.
ว.บ. (หนังสือพิมพ์), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2536.

ผลงานวิชาการ
·ทวีศักดิ์ เผือกสม. 2562. ชุดโครงการวิจัยเรื่อง “วิธีวิทยาในการศึกษาประวัติศาสตร์” โดยทุนสนับสนุนของฝ่ายเวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทย สกว. ประจำปีงบประมาณ 2562, ระยะเวลา 1 ปี 6 เดือน (มีนาคม 2562 – สิงหาคม 2563).

·ทุติยาภรณ์ ภูมิดอนมิ่ง และทวีศักดิ์ เผือกสม. 2562. “ปาราสิตสถาปนา: พยาธิใบไม้ตับและสงครามแห่งการรักษาในสังคมไทย.” วารสารสงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 25:2 (พฤษภาคม-สิงหาคม, 2562).

·สุริยา คำหว่าน และทวีศักดิ์ เผือกสม. 2562. “โฮจิมินห์กับสำนึกชาตินิยมทางไกลในชุมชนเกี่ยวบ่าวนครพนม.” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม, 9:3 (กันยายน-ธันวาคม, 2562).

·ทวีศักดิ์ เผือกสม (บก.). 2561. ปัญญาชน ศีลธรรม และสภาวะสมัยใหม่:เสียงของมนุษยศาสตร์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์เคล็ดไทย, โดยการสนับสนุนของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)).

·ทวีศักดิ์ เผือกสม. 2561. ชุดโครงการวิจัยเรื่อง “ประวัติศาสตร์อารมณ์และความรู้สึกของชาวอินโดนีเซียหลังยุคสุฮารโต” (สำหรับนายบัญชา ราชมณี นิสิตปริญญาเอกสาขาวิชาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มหาวิทยาลัยนเรศวร), โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก (Royal Golden Jubilee) ของ สกว. ประจำปีงบประมาณ 2562, ระยะเวลา 2 ปี (ตุลาคม 2561 –กันยายน 2563).

·วรยุทธ พรประเสริฐ และทวีศักดิ์ เผือกสม. 2561. “อยู่ในตรอกเล็กซอกน้อย: สถานอบายมุขกับแหล่งบ่มเพาะนักเลงในกรุงเทพฯ พ.ศ.2410-2500,” น.232-259. ใน "อยู่ด้วยกัน: โลก เทคโนโลยี ความเหลื่อมล้ำ และความเป็นอื่น" (เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติเวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทยครั้งที่ 12, ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร (สนามจันทร์), 7-8 กันยายน 2561.

·ทวีศักดิ์ เผือกสม. 2561. เชื้อโรค ร่างกาย และรัฐเวชกรรม: ประวัติศาสตร์การแพทย์สมัยใหม่ในสังคมไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2 (กรุงเทพฯ: Illumination Editions).

·ทวีศักดิ์ เผือกสม. 2561. หยดเลือด จารึก และแท่นพิมพ์: ว่าด้วยความรู้/ความจริงของชนชั้นนำสยาม (กรุงเทพฯ: Illumination Editions).

·Davisakd Puaksom. 2017. “Review: Siam’s New Detectives: Visualizing Crime and Conspiracy in Modern Thailand, by Samson Lim (Honolulu: University of Hawaii Press, 2016).” Technology and Culture, 58: 3 (July 2017): 883-4.

·ทวีศักดิ์ เผือกสม. 2560. เรย์นัลโด อิเลโต้: มวลชนคนชั้นล่าง ประวัติศาสตร์แห่งชาติ และความรู้แบบอาณานิคม. กรุงเทพฯ: สนพ.สมมติ. รางวัลชมเชยของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ประเภทหนังสือสารคดี ประจำปี 2561.

·ทวีศักดิ์ เผือกสม. 2560. วงศาวิทยาของอิเหนา: ปัญหาเรื่องลิ้น ความลื่นไหลของสัญญะ และการสืบหาอารยธรรมปันหยี (กรุงเทพฯ: สนพ.ยิปซี).

·ทวีศักดิ์ เผือกสม. 2560. วีรบุรุษไพร่ชวา: รัฐมุสลิม สภานักบุญ และผู้มีกำเนิดจากไส้เดือนดิน (กรุงเทพฯ: สนพ.ยิปซี).


·สิริฉัตร รักการ และทวีศักดิ์ เผือกสม. 2558.“ประวัติศาสตร์นิพนธ์ฟิลิปปินส์: จากยุคอาณานิคมถึงยุคหลังอาณานิคม.” วารสารสงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 21: 3 (กรกฎาคม-กันยายน, 2558): 177-230.

·ทวีศักดิ์ เผือกสม. 2558. “วีรบุรุษไพร่แดงในชวา,” น.353-382, ใน เจ้าพ่อ ประวัติศาสตร์ จอมขมังเวทย์, บรรณาธิการโดย ธนาพล ลิ่มอภิชาตและสุวิมล รุ่งเจริญ (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ศยามปริทัศน์, 2558).

·ทวีศักดิ์ เผือกสม. 2558. “บทสวดมหาการุณกับการปฏิวัติฟิลิปปินส์: ประวัติศาสตร์จากมุมมองของคนชั้นล่างของเรย์ อิเลโต้,” ชุมทางอินโดจีน: เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ปริทัศน์, 4: 7 (มิถุนายน-ธันวาคม 2558): 243-262.

·ทวีศักดิ์ เผือกสม. 2558. “ภูมิทัศน์ประวัติศาสตร์การแพทย์และการแพทย์พื้นบ้านในอินโดนีเซีย,” น.35-66, ใน วัฒนธรรมสุขภาพในสังคมอาเซียน, บก. โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ และคณะ (นนทบุรี: สุขศาลา, สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ (สวสส.), 2558).

·Davisakd Puaksom. 2015. “Review: Cleanliness and culture: Indonesian histories, Edited by Kees van Dijk and Jean Gelman Taylor (KITLV Press, 2011); Consoling ghosts: Stories of medicine and mourning from Southeast Asians in exile, By Jean M. Langford (University of Minnesota Press, 2013); Global movements, local concerns: Medicine and health in Southeast Asia, Edited by Laurence Monnais and Harold J. Cook (NUS Press, 2012).” Journal of Southeast Asian Studies, 46: 1 (February 2015): 147-150.

·Davisakd Puaksom. 2014. “A Promise of Desire: On the Politics of Health Care and Moral Discourse in Thailand, 1950-2010,” in Public Health and National Reconstructions in Post-War Asia: International Influences, Local Transformations, edited by Liping Bu and Ka-che Yip (London and New York: Routledge, 2014).

·ทวีศักดิ์ เผือกสม. 2557. “คำสัญญาของความปรารถนา: การเมืองว่าด้วยเรื่องการดูแลรักษาสุขภาพกับวาทกรรมของศีลธรรมในช่วง 2490-2550.” แปลโดยจีรพล เกตุจุมพล. ฟ้าเดียวกัน, 12: 2-3 (พฤษภาคม-ธันวาคม 2557).

·ทวีศักดิ์ เผือกสมและชนิดา เผือกสม. 2557. “ความย่านกับความอยากของพัฒนา กิติอาษา: บทนำเสนอ,” น. 6-24, ใน พัฒนา กิติอาษา, สู่วิถีอีสานใหม่ (กรุงเทพฯ: สนพ.วิภาษา, 2557).

·ทวีศักดิ์ เผือกสม. 2555. ประวัติศาสตร์อินโดนีเซีย: รัฐจารีตในหมู่เกาะ ความเป็นสมัยใหม่แบบอาณานิคม และสาธารณรัฐแห่งความหลากหลาย (กรุงเทพฯ: สนพ.เมืองโบราณ).

·ทวีศักดิ์ เผือกสม. 2555. “ท้องถิ่นศึกษา-ชุมทางศึกษาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา,” น. 172-193, ประวัติศาสตร์นอกขนบ, บรรณาธิการโดย อภิราดี จันทร์แสง (คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม).

·ทวีศักดิ์ เผือกสม และ ธนภาษ เดชพาวุฒิกุล. 2554. “บทนำเสนอ: สภาวะความเป็นสมัยใหม่อันแตกกระจาย,” รุไบยาต: วารสารวิชาการด้านเอเชียศึกษา, 2: 3 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2554): 5-13.

·Davisakd Puaksom. 2011. “Review: Claudia Merli’s Bodily practices and medical identities in southern Thailand (Uppsala: Uppsala Studies in Cultural Anthropology no.43, Acta Universitatis Uppsala, 2008).” Journal of Southeast Asian Studies, 44:2 (2011): 368-370.

·Davisakd Puaksom. 2553. “Southeast Asian Studies from a Local Perspective: an Introduction.” ใน ศรีวิชัย เครือข่ายการค้า และวีรบุรุษ: อินโดนีเซียศึกษาในประเทศไทย, บรรณาธิการโดย ทวีศักดิ์ เผือกสม และธนภาษ เดชพาวุฒิกุล (นครศรีธรรมราช: โครงการภูมิภาคศึกษา, รุไบยาต ฉบับพิเศษ, 2553).

·ทวีศักดิ์ เผือกสม. 2553. “ภาษา / วัตถุบูชา / การปฏิวัติ ในภาวะฌานของเจมส์ ไซเกล.” รุไบยาต: วารสารวิชา การด้านเอเชียศึกษา, 1: 1 (กรกฎาคม-ธันวาคม, 2553): 97-102.

·ทวีศักดิ์ เผือกสม (บรรณาธิการ). 2552. สาธารณสุขชุมชน:ประวัติศาสตร์และความทรงจำ (นนทบุรี: หอจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์ระบบสุขภาพไทย, สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ (สวสส.)).

·ทวีศักดิ์ เผือกสม. 2552. “รูปเงาบนแผ่นดินชวาและวาลีทั้งเก้า." รัฐศาสตร์สาร (มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์), 30: ฉบับพิเศษ เล่มที่ 1 (2552): 118-181.

·ทวีศักดิ์ เผือกสม. 2551. “เชื้อโรค การเดินทาง และ ‘ซิวิไลยนาแฉน’." วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร, 28: 1-2 (2551): 134-185.

·ทวีศักดิ์ เผือกสม และจิรวัฒน์ แสงทอง. 2551. “บทนำเสนอ: ว่าด้วยการสร้างความเป็นมลายู.” ใน แอนโธนี มิลเนอร์, เกอราจาอัน: วัฒนธรรมการเมืองมลายูในช่วงอรุณรุ่งของระบอบ อาณานิคม, แปลโดย ชนิดา พรหมพยัคฆ์ เผือกสม (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์เมืองโบราณ, 2551).

·Davisakd Puaksom. 2008. "Of a Lesser Brilliance: Patani Historiography in Contention." In Thai South and Malay North: Ethnic Interactions on a Plural Peninsular, edited by Michael J. Montesano and Patrick Jory (Singapore: NUS Press, 2008).

·Davisakd Puaksom. 2007. "Of Germs, Public Hygiene, and the Healthy Body: The Making of the Medicalizing State in Thailand." The Journal of Asian Studies, 66:2 (May 2007): 311-344.

·ทวีศักดิ์ เผือกสม. 2550. เชื้อโรค ร่างกาย และรัฐเวชกรรม: ประวัติศาสตร์การแพทย์สมัยใหม่ในสังคมไทย (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).

·ทวีศักดิ์ เผือกสมและจิรวัฒน์ แสงทอง. 2549. “ความหลากหลายที่หายไป: บทวิจารณ์รายงาน คณะกรรมการอิสระเพื่อความสมานฉันท์แห่งชาติ (กอส.).” ฟ้าเดียวกัน, 4: 2 (เมษายน-มิถุนายน 2549): 112-120.

·ทวีศักดิ์ เผือกสม. 2547. อินโดนีเซียรายา: รัฐจารีต สู่ "ชาติ" ในจินตนาการ (กรุงเทพฯ: สนพ.เมืองโบราณ).

·ทวีศักดิ์ เผือกสม. 2546. คนแปลกหน้านานาชาติของกรุงสยาม (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มติชน).

·ทวีศักดิ์ เผือกสม. 2546. “รัฐเวชกรรม: จากโรงพยาบาลสู่โครงการสาธารณสุขมูลฐาน.” รัฐศาสตร์สาร (มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์), 24: 1 (2546): 204-245.

·ทวีศักดิ์ เผือกสม. 2546. “ชาติพันธุ์วรรณาในจารึกวัดพระเชตุพนฯ ที่ศิลามหาวิทยาลัย University in Stone.” ศิลปวัฒนธรรม, 24: 5 (มีนาคม, 2546): 90-115.

·ทวีศักดิ์ เผือกสม. 2544. “ชาติพันธุ์วรรณาในจารึกวัดพระเชตุพนฯ: บูรพาคดีศึกษา, ภาพตัวแทนของความรู้และ การเขียนตะวันตกของไทย.” รัฐศาสตร์สาร (มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์), 23: 1 (2544): 28-92.

·ทวีศักดิ์ เผือกสม. 2543. “วาทกรรมการแพทย์สมัยใหม่ของตะวันตก กับการปกครองของ รัฐไทย: ข้อสังเกต เบื้องต้น.” วารสารธรรมศาสตร์, 26: 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2543): 73-93.

·ทวีศักดิ์ เผือกสม. 2541. “การทำตะวันตกให้เป็นตะวันออกของสยาม: การตอบโต้รับมือกับวาทกรรมความเป็นอื่น ของมิชชั่นนารีตะวันตกโดยปัญญาชนสยามในช่วงต้นศตวรรษที่ 19.” รัฐศาสตร์สาร (มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์), 21: 3 (2541): 253-313.

·ทวีศักดิ์ เผือกสม. 2540. “สื่อมวลชนในฐานะเครื่องมือกลไกของอำนาจทางการเมือง: ศึกษา เฉพาะงานเขียนของ บุญรักษ์ บุญญะเขตมาลา.” รัฐศาสตร์สาร (มหาวิทยาลัยธรรม ศาสตร์), 20: 1 (2540): 111-134.

Comments

Popular Posts